Site icon วิมังสา เทรนนิ่ง

หลักสูตรการใช้ OKRs เพื่อการพัฒนาองค์กรและการทำงาน

หลักสูตร OKRs : เหตุผลหลักที่นำไปใช้แล้วทำไม่ได้ ไม่สำเร็จ เพราะเข้าใจไปเอง หรือเรียนรู้จากผู้ที่ขาดความเข้าใจแท้จริงของมิติองค์กร…

ปัญหาการทำงานเกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ แต่หัวใจสำคัญของปัญหาล้วนเกิดจาก “คน” ผู้บริหารหรือองค์กรที่มีวิสัยทัศน์รู้และเข้าใจดีว่า การมีระบบที่ดีจะช่วยลดปัญหาต่าง ๆ ได้ เพราะ “คนทุกคน” จะได้ทำงานอยู่บนมาตรฐานและความเข้าใจที่ใกล้เคียงกัน ช่วยลดและหยุดปัญหาทั้งการสื่อสาร การทำงาน การประสานงานไปได้มากมาย

หลายองค์กรจึงพยายามเสาะหา “ระบบ” หรือกรอบการทำงาน (Framework) รวมถึงเกณฑ์ที่ดีในการวัดผลการปฏิบัติงาน (Performance Measurement) เพื่อช่วยลดปัญหา รวมถึงจะได้รู้ว่าองค์กร หรือการทำงานในทุกวันนี้มีประสิทธิภาพมากเพียงใด

ระบบหรือ framework หนึ่งที่องค์กรระดับโลกนิยมนำไปประยุกต์ใช้ คือ OKRs เพราะดูเหมือนว่าจะช่วยตอบโจทย์ในหลายด้านของการทำงาน ตัวอย่างที่ชัดเจนที่สุดคือ Google ที่แทบไม่มีใครไม่รู้จักความยิ่งใหญ่ของบริษัทนี้ ทั้งในแง่การพัฒนา และการจัดการที่ยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในบริษัทที่น่าทำงานที่สุดในโลก พวกเขาใช้ OKRs  ตั้งแต่บริษัทยังไม่ใหญ่โต จนเป็นบริษัทชั้นนำของโลกในปัจจุบัน

ทุกวันนี้องค์กรชั้นนำของประเทศไทยเองก็เริ่มนำ OKRs ไปใช้กันมากขึ้น หากถามว่า องค์กรเราจะใช้ได้หรือไม่นั้น คำตอบคือเหมาะสมและปรับใช้ได้ทุกองค์กร แม้กระทั่งองค์กรไม่แสวงหากำไร เพราะที่สุดแล้วความก้าวหน้าแบบ 10 เท่า อย่างที่เขาว่ากันนั้นจะได้หรือไม่ ย่อมต้องขึ้นอยู่กับความท้าทายในความสามารถขององค์กรเอง แต่ต้องไม่ลืมว่า ทุกวันนี้โลกธุรกิจ และสังคมปรับตัวกันรวดเร็วเหลือเกิน การมี OKRs มาช่วย อย่างน้อยก็ไม่ทำให้องค์กรล้าหลัง หรือไร้แนวทาง และยังนำไปสู่เส้นทางที่จะก้าวต่อไปในอนาคต

อีกข้อดีสำคัญประการหนึ่งของ OKRs คือ เป็นระบบที่ไม่กดดันพนักงาน ไม่พยายามสร้างทัศนคติแง่ลบในการทำงาน สร้างกรอบการทำงานที่ท้าทาย และวัดผลได้ หากองค์กรมีการใช้ OKRs ที่เหมาะสมและเข้าใจจริง จะช่วยสร้างบรรยากาศการทำงานที่ดีขึ้นได้ สนุก ท้าทาย และมีความเข้าใจไปในทิศทางเดียวกันทั้งองค์กร เมื่อไปถึงจุดนั้นความเจริญเติบโตก้าวหน้าอย่างยั่งยืนจะไม่ใช่สิ่งที่ยากอีกต่อไป

หลักสูตรการใช้ OKRs เพื่อการพัฒนาองค์กรและการทำงาน


หลักสูตรการใช้ OKRs เพื่อการพัฒนาองค์กรและการทำงาน (แบบ 1 วัน)
(Use OKRs for growth and better work – Standard Course ) (C-08)

หลักสูตรนี้ออกแบบมาเพื่อสร้างพื้นฐานให้เข้าใจในทุกส่วนของ OKRs ในแบบชีวิตจริงตามบริบทสังคมการทำงานของประเทศไทย เพื่อให้พนักงานสามารถนำไปปรับใช้ต่อยอดได้ในวันข้างหน้า



ทำไมต้องอบรมหลักสูตรนี้!!


วัตถุประสงค์


กลุ่มเป้าหมาย


การอบรม รูปแบบการเรียนการสอน


ระยะเวลา

1 วัน / 6 ชั่วโมง 9.00 น. – 16.00 น. 


หัวข้ออบรมพนักงาน (Course Outline)

*หลักสูตรอาจมีการพัฒนาหรือปรับตามวัตถุประสงค์ได้ – ดูรายละเอียดและกำหนดการ >  พิมพ์-เอกสารนำเสนอผู้บริหาร (พบเจอหลักสูตรเลียนแบบกรุณาแจ้งเรา)

ช่วงเช้า

ช่วงบ่าย

*อาจมีการปรับให้สอดคล้องกับเวลาและสถานการณ์ มีแทรกจังหวะผ่อนคลายสนุกสนานให้ไม่น่าเบื่อ พักเบรกตามเหมาะสม (ปกติ 10.30, 14.30 น.)



หลักสูตรการใช้ OKRs เพื่อการพัฒนาองค์กรและการทำงาน (แบบ 2 วัน)
(Use OKRs for growth and better work – Advance Course ) (C-08/D2)

หลักสูตรนี้ออกแบบมาสำหรับประยุกต์ใช้งาน นอกจากการสร้างพื้นฐานความเข้าใจเรื่อง OKRs Framework แล้ว ยังมุ่งเน้นฝึกปฏิบัติบนสภาพความเป็นจริงของแต่ละองค์กร เพื่อนำไปตั้งต้นใช้งานจริงแบบหวังผล



ทำไมต้องอบรมหลักสูตรนี้!!


วัตถุประสงค์


กลุ่มเป้าหมาย


การอบรม รูปแบบการเรียนการสอน


ระยะเวลา

2 วัน / 12 ชั่วโมง 9.00 น. – 16.00 น. 
*(ไม่จำเป็นต้อง 2 วันต่อเนื่องแต่ไม่ควรเกิน 2 สัปดาห์)


หัวข้ออบรมพนักงาน (Course Outline)

*หลักสูตรอาจมีการพัฒนาหรือปรับตามวัตถุประสงค์ได้ – ดูรายละเอียดและกำหนดการ >  พิมพ์-เอกสารนำเสนอผู้บริหาร (พบเจอหลักสูตรเลียนแบบกรุณาแจ้งเรา)

วันที่ 1

ช่วงเช้า

ช่วงบ่าย

วันที่ 2

*อาจมีการปรับให้สอดคล้องกับเวลาและสถานการณ์ มีแทรกจังหวะผ่อนคลายสนุกสนานให้ไม่น่าเบื่อ พักเบรกตามเหมาะสม (ปกติ 10.30, 14.30 น.)


วิทยากรอบรมพนักงาน

วิทยากรประจำหลักสูตร

อ.ดา – ปรีดา ศิริชัยวัฒนานันท์   วิทยากรผู้เข้าใจเรื่อง “คน” เป็นอย่างมาก จึงเชี่ยวชาญในหลายด้านของ Soft skills นอกจากนี้ด้วยประสบการณ์อันหลากหลายตั้งแต่เป็นพนักงานธรรมดาสู่ผู้บริหารและที่ปรึกษาธุรกิจ จึงสามารถถ่ายทอดทักษะอื่น ๆ เช่น โปรแกรม Office หรือ การตลาด และ framework ต่าง ๆ ได้ในแบบคนทำงาน เพราะมีหลักการว่าทุกความรู้ต้องนำไปใช้ได้ในชีวิตจริง! 😎

🔗ดูประวัติวิทยากร



แนะนำหลักสูตรอบรมพนักงาน (In-house training) ที่คุณอาจสนใจ

Exit mobile version